สวัสดีเพื่อนๆ สมาชิก ครูต้นไผ่ดอทคอม ทุกท่านครับ วันนี้พบกับ ครูต้นไผ่ดอทคอม เช่นเคยครับ วันนี้แอดมินมีไฟล์มาแนะนำให้เพื่อนๆ สมาชิกได้ดาวน์โหลดไปใช้งาน เป็นไฟล์ แบบบันทึกการประเมินมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เครื่องมือการประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 มาตรฐาน ซึ่งเพื่อนๆ สมาชิกสามารถดาวน์โหลดนำศึกษาและนำไปเป็นแนวทางในการจัดทำแบบบันทึกการประเมินมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เครื่องมือการประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 มาตรฐาน ตามบริบทของสถานศึกษา ได้ครับ แอดมินขอแนะนำไฟล์ แบบบันทึกการประเมินมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เครื่องมือการประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 มาตรฐาน ตามรายละเอียดดังนี้ ครับ

แจกฟรี แบบบันทึกการประเมินมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เครื่องมือการประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 มาตรฐาน ไฟล์ เวิร์ด แก้ไขได้

แจกฟรี แบบบันทึกการประเมินมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เครื่องมือการประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 มาตรฐาน ไฟล์ เวิร์ด แก้ไขได้

รายละเอียด แบบบันทึกการประเมินมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เครื่องมือการประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 มาตรฐาน

แบบบันทึกการประเมิน
มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

วันที่ประเมิน   วันที่………………..เดือน…………………………….พ.ศ. …………………………… ผู้ตอบแบบประเมิน  ชื่อ ……………………………………………..สกุล ……………………………….ตำแหน่ง………………………….. หน่วยงาน……………………………………………………………………..  โทรศัพท์/มือถือ………………………………………………….. อีเมล์ …………………………..………………..…………………..….… ID Line ……………..……….……………………………………………
ส่วนที่ ๑  ข้อมูลพื้นฐาน        ๑. ชื่อสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย……………………………………………………………………………………………………………………………..             ที่ตั้ง ชื่ออาคาร………………………………………….เลขที่ ……….หมู่ที่/หมู่บ้าน……………………………………………………………….       
          ซอย……………………………………………………ถนน……………………………………ตำบล/แขวง……………………………………………      
          อำเภอ/เขต…..………………………….….…..………จังหวัด……….………………………………………รหัสไปรษณีย์ …………………….   
          หมายเลขโทรศัพท์…………………………………………………………..โทรสาร ………………………………………………………………….
          อีเมล์……………………………………………………………………เว็บไซต์…………………………………………………………………………….
      ๒. สังกัด (   ) ภาครัฐ โปรดระบุ……………………………………………………………………………………………………………………….…….         
                  (   ) เอกชน โปรดระบุ …………………………………………………………..………  (   ) อื่นๆ………………………………………..      
      ๓. เปิดดำเนินการเมื่อ ( ว/ด/ป ) ………………………………………………………………………………………………………………………….
      ๔. หัวหน้าสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/ โรงเรียนระดับอนุบาล/ ผู้รับใบอนุญาต 
          ชื่อ ……………………………………..สกุล…………………………………อีเมล์……………………………..โทรศัพท์/มือถือ……………………           
          วุฒิการศึกษา  (   )  ๑. สาขาปฐมวัย คือ……………………………… (   )  ๒. สาขาอื่น…………………………….…………………….  
      ๕. รับเด็กตั้งแต่อายุ………………… เดือน/ ปี   ถึง ……..………….ปี จำนวนเด็กทั้งหมด……………………………………………….คน
          เป็นเด็กที่มีความต้องการพิเศษ/ที่สงสัยมีพัฒนาการล่าช้า……………………คน           ๕.๑ แบ่งตามช่วงอายุ ช่วงอายุเด็ก
เมื่อเริ่มปีการศึกษาปัจจุบัน
จำนวน (คน) ชาย หญิง รวม เด็กที่มีความต้องการพิเศษ*/
ที่สงสัยมีพัฒนาการล่าช้า
ครู/
ผู้ดูแลเด็ก
๑) ทารกแรกเกดิ ถึง อายุก่อน ๑ ปี           ๒) อายุ ๑ ปี ถึง อายุก่อน ๒ ปี           ๓) อายุ ๒ ปี ถึง อายุก่อน ๓ ปี             ๔) อายุ ๓ ปี ถึง อายุก่อน ๔ ป           ๕) อายุ ๔ ปี ถึง อายุก่อน ๕ ปี            ๖) อายุ ๕ ปี ถึง อายุก่อน ๖ ปี           ๗) อายุ ๖ ปี ถึง ก่อนเข้า ป.๑              (*เด็กที่มีความต้องการพิเศษ ต้องมีใบรับรองจากแพทย์/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข)           ๕.๒ จำนวนเฉลี่ยที่รับเด็กเข้าในรอบปี …………….…………..คน
          ๕.๓ จำนวนเด็กลาออกกลางคันในรอบปี ……………….…..คน
          ๕.๔ จำนวนเด็กที่ออกต่อปี ………………………………………คน
             ๕.๕ แบ่งตามระดับชั้น ระดับชั้น จำนวนห้อง จำนวนเด็กต่อห้อง (คน) (  ) ๑.  ทารกขวบปีแรก      (  ) ๒.  วัยเตาะแตะ (อายุ ๑ปี – ๒ปี)     (  ) ๓.  เตรียมอนุบาล      (  ) ๔.  อนุบาล ๑        (  ) ๕.  อนุบาล ๒      (  ) ๖.  อนุบาล ๓        (  ) ๗.  อื่นๆ ………………………….           ๖. อัตรากำลังผู้ปฏิบัติงาน
ประเภทบุคลากร
เพศ ระดับการศึกษา (คน) อายุเฉลี่ย
(ปี)
ชาย หญิง ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงปริญญาตรี หัวหน้าสถาน/  ผู้ดำเนินกิจการ             รองหัวหน้าสถาน             *ครู             ผู้ดูแลเด็ก/ พี่เลี้ยง             ผู้ประกอบอาหาร             พนักงานทำความสะอาด             พนักงานรักษาความปลอดภัย             คนสวน             พนักงานขับรถ             บุคลากรอื่นๆ ระบุ…….……………….             * ครูมีใบประกอบวิชาชีพครู จำนวน……………….…….คน              ๖.๑ ครู/ผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยงที่สอนตรงตามวิชาเอก สาขาอนุบาลศึกษา/การศึกษาปฐมวัย……………….คน
                   คิดเป็นร้อยละ………………….           
              ๖.๒ ครู/ผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยงที่สอนสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง ระบุวุฒิ…………………………………..จำนวน ……………….… คน  
                    คิดเป็นร้อยละ………………       
      ๗. ค่าใช้จ่ายและงบประมาณในการดำเนินการ     
                    ๗.๑) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยนี้ได้รับจาก (ตอบไดม้ากกว่า ๑ ข้อ)
                           (   ) ๑) หน่วยงานต้นสังกัด ………………………………..(   ) ๒) รัฐ ผ่านกระทรวง…………………………………..
                           (   ) ๓) ผู้ปกครองของเด็ก …………………………………(   ) ๔) อื่นๆ โปรดระบุ………………………………………    
                   ๗.๒) ในปีที่ผ่านมาสถานะทางการเงินเมื่อเปรียบเทียบรายรับ-รายจ่ายเป็นอย่างไร   
                           (   ) ๑)  เพียงพอ  (   ) ๒) ไม่เพียงพอ เนื่องจาก …………………………………………………………………………….             
      ๘. ในระยะเวลา ๑ ปีที่ผ่านมาท่านมีการประเมินผลการดำเนินงาน/ประกันคุณภาพภายใน   
                           (   ) ๘.๑ มี           (   ) ๘.๒ ไม่มี   

แบบบันทึกการประเมิน
มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

คำชี้แจง  โปรดพิจารณาข้อมูลจากเอกสารหมายเลข ๑  และนำผลการประเมินที่ได้จากแต่ละตัวบ่งชี้และข้อย่อยมา บันทึกโดยทำเครื่องหมาย ลงในช่องผลการประเมิน และรวมคะแนนของแต่ละตัวบ่งชี้  ตามตัวอย่าง ด้านล่างนี้
ตัวบ่งชี้มาตรฐานคะแนนการประเมิน
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ    รวม
๑.๑.๑ บริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเป็นระบบ    
๑.๑.๒ บริหารหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย      
๑.๑.๓ บริหารจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบ    

ส่วนที่ ๒ สรุปผลการประเมิน

มาตรฐานด้านที่ ๑ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวบ่งชี้มาตรฐานคะแนนการประเมิน
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ    รวม
      ๑.๑.๑ บริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเป็นระบบ    
      ๑.๑.๒ บริหารหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย      
      ๑.๑.๓ บริหารจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบ    
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ การบริหารจัดการบุคลากรทุกประเภทของหน่วยงานทุกสังกัด        รวม
       ๑.๑.๑ บริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเป็นระบบ    
       ๑.๒.๒ ผู้บริหารสถานพัฒนาปฐมวัย/หัวหน้าระดับปฐมวัย/ผู้ดำเนินกิจการมี คุณวุฒิ/ คุณสมบัติเหมาะสม และบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ    
       ๑.๒.๓ ครู/ผู้ดูแลเด็กที่ท าหน้าที่หลักในการดูแลและพัฒนาเด็ก  มีคุณวุฒิ/ คุณสมบัติเหมาะสม    
       ๑.๒.๔ บริหารบุคลากรจัดอัตราส่วนของครู/ผู้ดูแลเด็กอย่างเหมาะสมพอเพียงต่อจำนวนเด็กในแต่ละกลุ่มอายุ    
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ การบริหารจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย          รวม     ๕
        ๑.๓.๑ บริหารจัดการด้านสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยอย่างเป็นระบบ    
        ๑.๓.๒ โครงสร้างและตัวอาคารมั่นคง ตั้งอยู่ในบริเวณและสภาพแวดล้อมที่ ปลอดภัย    
        ๑.๓.๓ จัดการความปลอดภัยของพื้นที่เล่น /สนามเด็กเล่น และสภาพแวดล้อม ภายนอกอาคาร    
        ๑.๓.๔ จัดการสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ เครื่องใช้ให้ ปลอดภัยเหมาะสมกับการใช้งาน และเพียงพอ    
ตัวบ่งชี้มาตรฐานคะแนนการประเมิน
1.3.5 จัดให้มีของเล่นที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน มีจำนวนเพียงพอ สะอาด เหมาะสมกับ ระดับพัฒนาการของเด็ก     
1.3.6 ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเดินทางอย่างปลอดภัย      
1.3.7 จัดให้มีระบบป้องกันภัยจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย     
1.3.8 จัดให้มีระบบรับเหตุฉุกเฉิน ป้องกันอัคคีภัย/ ภัยพิบัติตามความเสี่ยงของพื้นที่     
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.4 การจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการเรียนรู้รวม
1.4.1 มีการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก และดูแลการ เจ็บป่วยเบื้องต้น      
1.4.2 มีแผนและดำเนินการตรวจสุขอนามัยประจำวัน ตรวจสุขภาพประจำปีและป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ     
1.4.3 อาคารต้องมีพื้นที่ใช้สอยเป็นสัดส่วนตามกิจวัตรประจำวันของเด็กที่เหมาะสมตาม ช่วงวัย และการใช้ประโยชน์     
1.4.4 จัดให้มีพื้นที่/มุมประสบการณ์ และแหล่งเรียนรู้ในห้องเรียนและนอกห้องเรียน     
1.4.5 จัดบริเวณห้องน้ำ ห้องส้วม ที่แปรงฟัน/ล้างมือให้เพียงพอ สะอาด ปลอดภัย และ เหมาะสมกับการใช้งานของเด็ก     
1.4.6 จัดการระบบสุขาภิบาลที่มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมสถานที่ปรุง ประกอบอาหาร น้ำ ดื่มน้ำใช้ กำจัดขยะ สิ่งปฏิกูล และพาหะนำโรค     
1.4.7 จัดอุปกรณ์ภาชนะและเครื่องใช้ส่วนตัวให้เพียงพอกับการใช้งานของเด็กทุกคน และ ดูแลความสะอาดและปลอดภัยอย่างสม่ำเสมอ     
ตัวบ่งชี้ที่ ๑.5 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน รวม
1.5.1 มีการสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างพ่อแม่/ผู้ปกครอง กับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเกี่ยวกับตัวเด็กและการดำเนินงานของสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัย     
1.5.2 การจัดกิจกรรมที่พ่อแม่/ผู้ปกครอง/ครอบครัว และชุมชน มีส่วนร่วม     
1.5.3 ดำเนินงานให้สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนในเรื่องการพัฒนา เด็กปฐมวัย     
1.5.4 มีคณะกรรมการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย    
มาตรฐานด้านที่ ๑ มีคะแนนรวมคะแนน
มาตรฐานด้านที่ ๑ มีคะแนนรวม คิดเป็นร้อยละ = คะแนนรวม x ๑00                                                                        ๗๘ 
มาตรฐานด้านที่ ๑ มีจำนวนตัวบ่งชี้  ที่ต้องปรับปรุงข้อ
มาตรฐานด้านที่ ๒ ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย
                               ตัวบ่งชี้มาตรฐานคะแนนการประเมิน
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑  การดูแลและพัฒนาเด็กอย่างรอบด้านรวม
๒.๑.๑ มีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย มีการดำเนินงานและประเมินผล     
๒.๑.๒ จัดพื้นที่/มุมประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นที่เหมาะสมอย่าง หลากหลาย    
๒.๑.๓ จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านอย่างบูรณาการตามธรรมชาติ ของเด็กที่เรียนรู้ด้วยประสาทสัมผัส ลงมือทำปฏิสัมพันธ์ และการเล่น    
๒.๑.๔ เลือกใช้สื่อ/อุปกรณ์ เทคโนโลยี เครื่องเล่นและจัดสภาพแวดล้อม ภายใน-ภายนอก แหล่งเรียนรู้ ที่เพียงพอ เหมาะสม ปลอดภัย    
๒.๑.๕ เฝ้าระวังติดตามพัฒนาการเด็กรายบุคคลเป็นระยะ เพื่อใช้ผลในการ จัดกิจกรรมพัฒนาเด็กทุกคนให้เต็มตามศักยภาพ    
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดูแลสุขภาพรวม
๒.๒.๑ ให้เด็กรับประทานอาหารที่ครบถ้วนในปริมาณที่เพียงพอ และส่งเสริม พฤติกรรมการกินที่เหมาะสม     
๒.๒.๒ จัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสม  ในการดูแล สุขภาพ ความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน    
๒.๒.๓ ตรวจสุขภาพอนามัยของเด็กประจำ วัน ความสะอาดของร่างกาย ฟัน และช่องปากเพื่อคัดกรองโรคและการบาดเจ็บ    
๒.๒.๔ เฝ้าระวังติดตามการเจริญเติบโตของเด็กเป็นรายบุคคล บันทึกผลภาวะ โภชนาการอย่างต่อเนื่อง    
๒.๒.๕ จัดให้มีการตรวจสุขภาพร่างกาย ฟันและช่องปาก สายตา หู ตามกำหนด    
ตัวบ่งชี้มาตรฐานคะแนนการประเมิน
ตัวบ่งชี้ที่  ๒.๓  การส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ภาษาและการสื่อสารรวม
๒.๓.๑ จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กได้สังเกต สัมผัสลองทำ คิดตั้งคำถาม สืบ เสาะหาความรู้ แก้ปัญหา จินตนาการ คิดสร้างสรรค์  โดยยอมรับ ความคิดและผลงานที่แตกต่างของเด็ก     
๒.๓.๒ จัดกิจกรรมและประสบการณ์ทางภาษาที่มีความหมายต่อเด็ก เพื่อ การสื่อสารอย่างหลากหลาย  ฝึกฟัง พูด ถาม ตอบ เล่าและสนทนา ตามลำดับขั้นตอนพัฒนาการ    
๒.๓.๓ จัดกิจกรรมปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน ให้เด็กมีทักษะการดูภาพ ฟังเรื่องราว พูดเล่า อ่าน วาด/เขียน เบื้องต้น ตามลำดับพัฒนาการ โดยครู/ ผู้ดูแลเด็กเป็นตัวอย่างของการพูด และการอ่านที่ถูกต้อง    
๒.๓.๔ จัดให้เด็กมีประสบการณ์เรียนรู้เกี่ยวกับตัวเด็ก บุคคล สิ่งต่างๆ สถานที่และธรรมชาติรอบตัวด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับวัยและ พัฒนาการ    
๒.๓.๕ จัดกิจกรรมและประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เบื้องต้นตามวัย  โดยเด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสและลงมือปฏิบัติ ด้วยตนเอง    
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒  การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดูแลสุขภาพรวม
๒.๒.๑ ให้เด็กรับประทานอาหารที่ครบถ้วนในปริมาณที่เพียงพอ และส่งเสริม พฤติกรรมการกินที่เหมาะสม     
๒.๒.๒ จัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสม  ในการดูแล สุขภาพ ความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน    
๒.๒.๓ ตรวจสุขภาพอนามัยของเด็กประจำ วัน ความสะอาดของร่างกาย ฟัน และช่องปากเพื่อคัดกรองโรคและการบาดเจ็บ    
๒.๒.๔ เฝ้าระวังติดตามการเจริญเติบโตของเด็กเป็นรายบุคคล บันทึกผลภาวะ โภชนาการอย่างต่อเนื่อง    
๒.๒.๕ จัดให้มีการตรวจสุขภาพร่างกาย ฟันและช่องปาก สายตา หู ตามกำหนด    
ตัวบ่งชี้มาตรฐานคะแนนการประเมิน
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ การส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ-สังคม ปลูกฝัง คุณธรรมและความเป็นพลเมืองดีรวม
๒.๔.๑ สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและมั่นคง ระหว่างผู้ใหญ่กับเด็ก จัดกิจกรรม สร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับเด็ก และการแก้ไข ข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์     
๒.๔.๒ จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กมีความสุข แจ่มใส ร่าเริง ได้แสดงออกด้าน อารมณ์  ความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง โดยผ่านการเคลื่อนไหวร่างกาย ศิลปะ ดนตรี ตามความสนใจและถนัด    
๒.๔.๓ จัดกิจกรรมและประสบการณ์ ปลูกฝังคุณธรรมให้เด็กใฝ่ดี มีวินัย ซื่อสัตย์ รู้จักสิทธิและหน้าที่รับผิดชอบของพลเมืองดี รักครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและประเทศชาติด้วยวิธีที่เหมาะสมกับวัยและ พัฒนาการ    
ตัวบ่งชี้ที่  ๒.๕  การส่งเสริมเด็กในระยะเปลี่ยนผ่านให้ปรับตัวสู่การเชื่อมต่อในขั้นถัดไปรวม
๒.๕.๑  จัดกิจกรรมกับผู้ปกครองเพื่อเตรียมเด็กก่อนจากบ้านเข้าสู่สถาน พัฒนาเด็กปฐมวัย/โรงเรียน และจัดกิจกรรมช่วงปฐมนิเทศให้เด็กค่อย ปรับตัวในบรรยากาศที่เป็นมิตร     
๒.๕.๒ จัดกิจกรรมส่งเสริมการปรับตัวก่อนเข้ารับการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น แต่ละขั้น  จนถึงการเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑    
มาตรฐานด้านที่  ๒ มีคะแนนรวมคะแนน
มาตรฐานด้านที่  ๒ มีคะแนนรวม คิดเป็นร้อยละ = คะแนนรวม x ๑๐๐                                                                                                                                                                                  ๖๐ 
มาตรฐานด้านที่ ๒ มีจำนวนตัวบ่งชี้ ที่ต้องปรับปรุงข้อ
มาตรฐานด้านที่ ๓ คุณภาพของเด็กปฐมวัย สำหรับเด็กแรกเกิดถึงอายุ (๒ ปี ๑๑ เดือน)
ตัวบ่งชี้มาตรฐานคะแนนการประเมิน
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ ก  เด็กมีการเจริญเติบโตสมวัยรวม
๓.๑.๑ ก เด็กมีน้ำหนักตัวเหมาะสมกับวัยและสูงดีสมส่วน ซึ่งมีบันทึกเป็น รายบุคคล    
ตัวบ่งชี้ ๓.๒ ก  เด็กมีพัฒนาการสมวัยรวม
๓.๒.๑ ก เด็กมีพัฒนาการสมวัยโดยรวม ๕ ด้าน    
๓.๒.๒ ก รายด้าน : เด็กมีพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (GM)    
๓.๒.๓ ก รายด้าน : เด็กมีพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญาสมวัย (FM)    
๓.๒.๔ ก รายด้าน : เด็กมีพัฒนาการด้านการรับรู้และเข้าใจภาษา (RL)    
๓.๒.๕ ก รายด้าน : เด็กมีพัฒนาการการใช้ภาษาสมวัย (EL)    
๓.๒.๖ ก รายด้าน : เด็กมีพัฒนาการการช่วยเหลือตนเองและการเข้าสังคม (PS)    
มาตรฐานด้านที่ ๓ ก  มีคะแนนรวม 
มาตรฐานด้านที่ ๓ ก  มีคะแนนรวม คิดเป็นร้อยละ =  คะแนนรวม x ๑๐๐                                                                              ๒๑ 
มาตรฐานด้านที่ ๓ ก  มีจำนวนตัวบ่งชี้ ที่ต้องปรับปรุง 
มาตรฐานด้านที่ ๓ คุณภาพของเด็กปฐมวัย  สำหรับเด็ก อายุ ๓ ปี ถึงอายุ ๖ ปี (ก่อนเข้าประถมศึกษาปีที่ ๑ )
ตัวบ่งชี้มาตรฐานคะแนนการประเมิน
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ข   เด็กมีการเจริญเติบโตสมวัยและมีสุขนิสัยที่เหมาะสมรวม
๓.๑.๑ ข เด็กมีน้ำหนักตัวเหมาะสมกับวัยและสูงดีสมส่วน ซึ่งมีบันทึกเป็น รายบุคคล    
๓.๑.๒ ข เด็กมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพตนเองตามวัย    
๓.๑.๓ ข เด็กมีสุขภาพช่องปากดี ไม่มีฟันผุ    
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ ข  เด็กมีพัฒนาการสมวัยรวม
๓.๒.๑ ข เด็กมีพัฒนาการสมวัยโดยรวม ๕ ด้าน    
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ ข  เด็กมีพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวรวม
๓.๓.๑ ข เด็กมีพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่  สามารถเคลื่อนไหว และทรงตัวได้ตามวัย    
๓.๓.๒ ข เด็กมีพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและการประสานงาน ระหว่างตากับมือตามวัย    
มาตรฐานด้านที่ ๓ ข มีคะแนนรวมคะแนน
มาตรฐานด้านที่ ๓ข  มีคะแนนรวม คิดเป็นร้อยละ =  คะแนนรวม x ๑๐๐                                                                          ๖๖ 
มาตรฐานด้านที่ ๓ข  มีจำนวนตัวบ่งชี้ ที่ต้องปรับปรุงข้อ
ตัวบ่งชี้มาตรฐานคะแนนการประเมิน
  ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ ข  เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจรวม
๓.๔.๑ ข เด็กแสดงออก ร่าเริง แจ่มใส รู้สึกมั่นคงปลอดภัย แสดงความรู้สึกที่ดี ต่อตนเองและผู้อื่นได้สมวัย    
๓.๔.๒ ข เด็กมีความสนใจและร่วมกิจกรรมต่างๆ อย่างสมวัย  ซึ่งรวมการเล่น การทำงาน ศิลปะ ดนตรี กีฬา    
๓.๔.๓ ข เด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคุมตนเอง ยับยั้งชั่งใจ ท าตามข้อตกลง คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น มีกาลเทศะ ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ใหม่ ได้สมวัย    
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๕ ข  เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา เรียนรู้และสร้างสรรค์รวม
๓.๕.๑ ข เด็กบอกเกี่ยวกับตัวเด็ก บุคคล สถานที่แวดล้อมธรรมชาติ  และสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก ได้สมวัย      
๓.๕.๒ ข เด็กมีพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์ สามารถสังเกต จำแนก และ เปรียบเทียบ จำนวน มิติสัมพันธ์ (พื้นที่/ระยะ) เวลา  ได้สมวัย    
๓.๕.๓ ข เด็กสามารถคิด อย่างมีเหตุผล แก้ปัญหาได้สมวัย    
๓.๕.๔ ข เด็กมีจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ ที่แสดงออกได้สมวัย    
๓.๕.๕ ข เด็กมีความพยายาม มุ่งมั่นตั้งใจ ท ากิจกรรมให้สำเร็จสมวัย    
ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๖ ข  เด็กมีพัฒนาการด้านภาษาและการสื่อสารรวม
๓.๖.๑ ข เด็กสามารถฟัง พูด จับใจความ  เล่า สนทนา และสื่อสารได้สมวัย    
๓.๖.๒ ข เด็กมีทักษะในการดูรูปภาพ สัญลักษณ์ การใช้หนังสือ รู้จักตัวอักษร การคิดเขียนคำและการอ่านเบื้องต้นได้สมวัยและตามลำดับ พัฒนาการ    
๓.๖.๓ ข เด็กมีทักษะการวาด การขีดเขียนตามลำดับขั้นตอนพัฒนาการสมวัย  น าไปสู่การขีดเขียนคำที่คุ้นเคยและสนใจ     
๓.๖.๔ ข เด็กมีทักษะในการสื่อสารอย่างเหมาะสมตามวัย โดยใช้ภาษาไทยเป็น หลัก และมีความคุ้นเคยกับภาษาอื่นด้วย    
ตัวชี้วัดที่ ๓.๗ ข  เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม คุณธรรม มีวินัยและความเป็นพลเมืองรวม
๓.๗.๑ ข เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้อย่างสมวัย และแสดงออกถึงยอมรับ ความแตกต่างระหว่างบุคคล    
๓.๗.๒ ข เด็กมีความเมตตา กรุณา มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและ ส่วนรวม และมีค่านิยมที่พึงประสงค์สมวัย    
๓.๗.๓ ข เด็กสามารถเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นกลุ่ม  เป็นได้ทั้งผู้นำและ ผู้ตาม แก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์    
๓.๗.๔ ข เด็กภาคภูมิใจที่เป็นสมาชิกที่ดีในครอบครัว ชุมชน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และตระหนักถึงความเป็นพลเมืองดีของประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน    

สรุปผลการประเมินในภาพรวม

ผลรวมของร้อยละของคะแนนเฉลี่ยรวมมาตรฐานทุกด้านคะแนน
มาตรฐานทุกด้าน มีจำนวนตัวบ่งชี้ที่ต้องปรับปรุงรวมข้อ
ระดับคุณภาพ   A     ดีมาก    B     ดี    C     ผ่านเกณฑ์ขั้นต้น    D     ต้องปรับปรุง
ระดับคุณภาพเกณฑ์การพิจารณา
คะแนนเฉลี่ยจำนวนข้อที่ต้องปรับปรุง
A  ดีมากร้อยละ ๘๐ ขึ้นไปไม่มี
B  ดีร้อยละ ๖๐-๗๙.๙๙๑-๗ ข้อ
C  ผ่านเกณฑ์ขั้นต้นร้อยละ ๔๐-๕๙.๙๙๘-๑๕ ข้อ
D  ต้องปรับปรุงต่ำกว่าร้อยละ ๔๐๑๖ ข้อขึ้นไป

เนื่องจากการใช้มาตรฐานในการประเมินตนเองเพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย           ต้องคำนึงถึงภาพรวมของมาตรฐานทั้ง ๓ ด้าน จึงมีการให้น้ำหนักเท่ากันด้วยการนำคะแนนแต่ละตัวบ่งชี้ที่ได้ในแต่ละมาตรฐานมารวมกันเป็นคะแนนรวมรายมาตรฐานคิดเป็นร้อยละ  เมื่อจะสรุปผลการประเมินจะนำผลรวมของร้อยละของคะแนนเฉลี่ย รวมมาตรฐานทุกด้าน มาหารด้วยจำนวนมาตรฐานทั้งหมดของแต่ละสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่ได้ทำการประเมิน  ตามสูตรวิธีการคำนวณคะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน  ตามข้อ ๑

แม้ว่าคะแนนเฉลี่ยมาตรฐานที่คำนวณได้จะสามารถกำหนดระดับคุณภาพของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยได้   แต่ปัจจัยสำคัญ คือ การระบุข้อย่อยในตัวบ่งชี้ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์การพิจารณาขั้นต้น  เพื่อจะได้รีบปรับปรุงแก้ไขโดยเร็วจึงต้องนำมาพิจารณาร่วมด้วย  ตามข้อ ๒

ในการใช้มาตรฐานนี้สำหรับพัฒนาคุณภาพ  ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และต้นสังกัดสามารถใช้เกณฑ์การพิจารณาในระดับที่ดีขึ้นได้ตามเกณฑ์ที่ระบุ  ไม่ว่าสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจะได้ผลการประเมินในระดับใดก็ตาม  ยังต้องพัฒนาคุณภาพในด้านต่าง ๆ ในทุกระดับ และพัฒนาเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่องจนดีเลิศ  เช่น การส่งเสริมภาษาที่ ๒ และ ๓ ให้กับเด็กการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมมาใช้จัดประสบการณ์เรียนรู้ ระเบียบวินัยและความเป็นพลเมืองโลก  การส่งเสริมการเรียนรู้และสร้างสมรรถนะสำหรับเด็กที่มีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์  เป็นการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย

๑. พิจารณาจากร้อยละเฉลี่ยของเด็กที่มีคุณลักษณะตามตัวบง่ชี้มาตรฐานที่ ๑ – ๓

ตัวอย่าง สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย  ที่มีเด็กอายุ ๓-๖ ปี (ก่อนเข้า ป.๑)   จะคำนวณโดยนำร้อยละของคะแนน มาตรฐานที่ ๑ มารวมกับร้อยละของคะแนนมาตรฐานที่ ๒ และร้อยละของคะแนนมาตรฐานที่ ๓ ข 

ตัวอย่าง สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย  ที่มีเด็กอายุแรกเกิด – ๖ ปี (ถึงก่อนเข้า ป. ๑)  จะคำนวณโดยนำร้อยละของคะแนนมาตรฐานที่ ๑ มารวมกับร้อยละของคะแนนมาตรฐานที่ ๒ ร้อยละของคะแนนมาตรฐานที่ ๓ ก

(เด็กอายุ แรกเกิด – ๒ ปี)  และร้อยละของคะแนนมาตรฐานที่ ๓ ข เด็กอายุ ๓ – ๖ ปี (ถึงก่อนเข้า ป.๑) หารด้วยจำนวนมาตรฐานที่ ได้ประเมินไป คือ ๔  ดังนี้

. การสรุปผลการประเมินของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

ระดับคุณภาพเกณฑ์การพิจารณา
คะแนนเฉลี่ยจำนวนข้อที่ต้องปรับปรุง
A  ดีมากร้อยละ ๘๐ ขึ้นไปไม่มี
B  ดีร้อยละ ๖๐-๗๙.๙๙๑-๗ ข้อ
C  ผ่านเกณฑ์ขั้นต้นร้อยละ ๔๐-๕๙.๙๙๘-๑๕ ข้อ
D  ต้องปรับปรุงต่ ากว่าร้อยละ ๔๐๑๖ ข้อขึ้นไป

ตัวอย่างไฟล์ แบบบันทึกการประเมินมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เครื่องมือการประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 มาตรฐาน


แบบบันทึกการประเมินมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เครื่องมือการประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 มาตรฐาน

เอกสารเป็นไฟล์ Word แก้ไขได้

ดาวน์โหลดไฟล์เอกสารจากลิงก์ด้านล่างนี้ นะครับ

ติดตามข่าวบน Facebook เพื่อไม่พลาดข่าว ได้ที่

ขอบคุณแหล่งที่มา : สื่อฟรีออนไลน์ดอทคอม

ท่านสามารถติดตามข่าวสารการศึกษา ข่าวเปิดสอบงานราชการ เปิดสอบครูอัตราจ้าง ข่าวเรียกบรรจุ อบรมออนไลน์ โหลดสื่อการสอน หรืออ่านบทความต่าง ๆ เพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ของเรา www.krutonpai.com ได้ตลอดเวลา และสุดท้ายขอขอบคุณทุกท่านที่เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเรา เราจะนำเสนอข้อมูล เนื้อหาดี ๆ มีสาระให้กับทุกท่านอีกครั้งอย่างแน่นอน ขอบคุณครับ

ติดตามโพสต์ล่าสุด

By admin

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

ห้ามพลาด