วันอังคาร, ตุลาคม 8, 2024
spot_img
หน้าแรกสำหรับครูแบ่งปันไฟล์ แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ชำนาญการพิเศษ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ระหว่างวันที่ ๑ เดือน...

แบ่งปันไฟล์ แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ชำนาญการพิเศษ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ระหว่างวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม  พ.ศ. ๒๕๖๔  ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕


สวัสดีเพื่อนๆ สมาชิก ครูต้นไผ่ดอทคอม ทุกท่านครับ วันนี้พบกับ ครูต้นไผ่ดอทคอม เช่นเคยครับ วันนี้แอดมินมีไฟล์มาแนะนำให้เพื่อนๆ สมาชิกได้ดาวน์โหลดไปใช้งาน เป็นไฟล์ แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ชำนาญการพิเศษ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ระหว่างวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม  พ.ศ. ๒๕๖๔  ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ซึ่งเพื่อนๆ สมาชิกสามารถดาวน์โหลดนำศึกษาและนำไปเป็นแนวทางในการจัดทำแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ชำนาญการพิเศษ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ระหว่างวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม  พ.ศ. ๒๕๖๔  ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้ครับ แอดมินขอแนะนำไฟล์ แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ชำนาญการพิเศษ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ระหว่างวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม  พ.ศ. ๒๕๖๔  ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามรายละเอียดดังนี้ ครับ

แบ่งปันไฟล์ แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ชำนาญการพิเศษ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ระหว่างวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม  พ.ศ. ๒๕๖๔  ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕

แบ่งปันไฟล์ แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ชำนาญการพิเศษ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ระหว่างวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม  พ.ศ. ๒๕๖๔  ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕


รายละเอียด แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ชำนาญการพิเศษ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ระหว่างวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม  พ.ศ. ๒๕๖๔  ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)

สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ชำนาญการพิเศษ)

โรงเรียน……. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา…….

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕

ระหว่างวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม  พ.ศ. ๒๕๖๔  ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕

ผู้จัดทำข้อตกลง

ชื่อ …….นามสกุล …….ตำแหน่ง ครู

สถานศึกษา โรงเรียน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา…….

รับเงินเดือนในอันดับ คศ.3 อัตราเงินเดือน …….บาท

          ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า ๑ ประเภทห้องเรียนตามสภาพการจัดการเรียนรู้จริง)

          ◻ ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน

          ◻ ห้องเรียนปฐมวัย

          ◻ ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ

          ◻ ห้องเรียนสายวิชาชีพ

          ◻ ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย

          ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู วิทยฐานะชำนาญการ ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้

          ส่วนที่ ๑ ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง

1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ก.ค.ศ. กำหนด

          1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 15 ชั่วโมง 50 นาที/สัปดาห์ดังนี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

          รายวิชา สังคมศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์         

รายวิชา พระพุทธศาสนาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์                

รายวิชา สังคมศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์         

รายวิชา ประวัติศาสตร์…ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์

                                   รายวิชา ประวัติศาสตร์…ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

กิจกรรมชุมนุม…..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 1 ชั่วโมง 40 นาที/สัปดาห์

กิจกรรมลูกเสือ…..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 1 ชั่วโมง 40 นาที/สัปดาห์

1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 5 ชั่วโมง 50 นาที/สัปดาห์ดังนี้

นิเทศ/สังเกตการสอน                          จำนวน 4 ชั่วโมง 10 นาที/สัปดาห์

PLC                                            จำนวน 1 ชั่วโมง 40 นาที/สัปดาห์

1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน – ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น        จำนวน 3 ชั่วโมง 20 นาที/สัปดาห์ดังนี้

กิจกรรมสร้างอาชีพ (ลดเวลาเรียน-เพิ่มเวลารู้)        จำนวน 1 ชั่วโมง 40 นาที/สัปดาห์

2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่งงาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน ๑ รอบการประเมิน (โปรดระบุ)ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ)ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ)
๑. ด้านการจัดการเรียนรู้     ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึงการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตรการออกแบบการจัดการเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม  เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้  การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้  การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์  เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้  การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน และการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน๑. วิเคราะห์หลักสูตรและจัดทำหน่วยการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์จากมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดนำไปจัดทำหน่วยการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ๒. จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้หลากหลาย ๓. จัดทำบทเรียนสำเร็จรูปในรูปแบบอนไลน์/สื่อการสอนออนไลน์ที่เหมาะสมกับสถานการณ์การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ โควิด ๑๙ ๔. จัดทำห้องเรียนออนไลน์บนแพลตฟอร์มที่หลากหลาย เช่น แอปพลิเคชั่นต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงการจัดการเรียนการสอนได้อย่างสะดวก รวดเร็วและตลอดเวลา ๔. จัดบรรยากาศการเรียนการสอน โดยให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหาการเรียน และสร้างความน่าสนใจเพื่อให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน  ๑. ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ตามแนวทางการอ่าน ๒. ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทักษะการเรียนประวัติศาสตร์เรียนรู้บนบทเรียนสำเร็จรูปแบบออฟไลน์ และสื่อการสอนออนไลน์ สามารถเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ปัจจุบันที่สนใจได้ ๓. ผู้เรียนเกิดการทักษะทักษะการเรียนประวัติศาสตร์ด้วยเทคนิควิธีการสอนแบบ active learning ผ่านทางช่องทางสื่อออนไลน์ที่หลากหลาย ๔. ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์และมากยิ่งขึ้น๑. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น ๒. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ สามารถทำแบบฝึกหัดจากบทเรียนสำเร็จรูปนแบบออนไลน์และออฟไลน์ได้ ๓. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ เกิดกระบวนการคิด การนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการเรียนได้ ๔. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์สูงขึ้น ๕. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์
๒. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการเรียนรู้    ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชาการดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษาและการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ๑. จัดทำรายงานข้อมูลสารสนเทศผู้เรียนรายบุคคล SDQ ๒. การออกเยี่ยมบ้าน คัดกรองรวมไปถึงผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการให้ความช่วยเหลือตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ๓. ปฏิบัติหน้าที่งานฝ่ายบริหารงานบุคคล งานประชาสัมพันธ์ และงานบัญชีฝ่ายบริหารงานงบประมาณหรืองานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย๑. ผู้เรียนใช้ข้อมูลสารสนเทศตรวจสอบและรายงานผลระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ๒. ผู้เรียนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมกับครูผู้สอนในการแก้ไขปัญหาผู้เรียนในด้านการเรียนรู้และระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคล ๓. ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือเมื่อเกิดปัญหาในระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน เช่น การให้คำแนะนำและส่งต่อ๑. ผู้เรียนร้อยละ ๑๐๐ ได้ใช้ประโยชน์จากสารสนเทศในระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ๒. ผู้ปกครอง/ผู้ที่เกี่ยวข้องร้อยละ ๑๐๐ สามารถรับรู้ความก้าวหน้าพัฒนาการของผู้เรียน
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่งงาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน ๑ รอบการประเมิน (โปรดระบุ)ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ)ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ)
๓. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ    ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึงการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้และการนำความรู้ความสามารถทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้๑. การเข้าร่วมการอบรม/การประชุมสัมมนาออนไลน์ต่าง ๆ ที่สามารถนำมาพัฒนาการจัดการศึกษา ๒. การทำกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพกับครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และครูในระดับอื่น ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียน๑. ใช้ทักษะ/องค์ความรู้มาบูรณาการ/สอดแทรกในเนื้อหาสาระวิชาในการจัดการเรียนรู้หรือพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล ๒. ร่วมกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพแลกเปลี่ยนปัญหาในการจัดการเรียนการสอนของผู้เรียนที่หลากหลาย๑. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีผลสัมฤทธิ์วิชาประวัติศาสตร์ในระดับคุณภาพ ๓ ขึ้นไป ๒. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ ได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านนวัตกรรมที่ครูผู้สอนประยุกต์ใช้ เช่น สื่อการสอนออนไลน์สำเร็จรูป เป็นต้น

หมายเหตุ

๑. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบ PA๑ ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษาและข้าราชการครูผู้จัดทำข้อตกลง

๒. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของรายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA ๒

๓. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA ๑ ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA ๒ จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็นสำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร

ส่วนที่ ๒ ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน

ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งครู ชำนาญการพิเศษ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ ริเริ่ม พัฒนาการจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้)

ประเด็นท้าทาย เรื่อง การแก้ไขพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  6 เรื่อง วิธีการแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์ โดยใช้แบบเรียนสำเร็จรูป ด้วยกระบวนการ PDCA

  1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้

             จากเหตุการโรคระบาดเกิดขึ้นในปัจจุบันคือไวรัสโคโรนา (โควิด-๑๙) ทำให้ทั่วโลกและประเทศไทยเราต้องมีการดำเนินการตามมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดอย่างเร่งด่วนส่งผลให้ภาคธุรกิจและกิจกรรมต่าง ๆ มีผลกระทบกันอย่างต่อเนื่องและแพร่หลาย รวมถึงการศึกษาที่ต้องมีการสั่งปิดโรงเรียนเป็นกรณีพิเศษทำให้นักเรียนขาดโอกาสในการเรียนรู้ โรงเรียน…….ซึ่งอยู่ในจังหวัด……. จึงได้มีนโยบายในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ให้กับนักเรียนเพื่อการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องและสร้างโอกาสในการเรียนรู้ของนักเรียน

   สภาพปัญหาของผู้เรียนที่ยังขาดทักษะในการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ ยังพบปัญหาอย่างมากในประวัติศาสตร์ ให้ถูกต้องตามหลักการ ซึ่งผู้เรียนขาดทักษะพื้นฐานสำคัญในเรียนวิชาประวัติศาสตร์ และการนำเสนอแนวคิดในการแสดงความคิดเห็น ส่งผลให้ผู้เรียนไม่สามารถจับประเด็นสำคัญของเนื้อความต่าง ๆ ได้ ซึ่งแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเดิมยังไม่ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เท่าที่ควร เนื่องมาจากบริบทของสิ่งแวดล้อม การเข้าถึงสื่อเทคโนโลยีของผู้เรียน จึงส่งผลให้การจัดการเรียนรู้ต่อผู้เรียนยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ดังนั้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะการเรียนประวัติศาสตร์ที่ดีขึ้น ครูผู้สอนจึงใช้วิธีการประยุกต์จากเทคโนโลยีด้วยบทเรียนสำเร็จรูป แบบฝึกทักษะในรูปแบบออนไลน์ โดยใช้ความรู้ความเข้าใจเนื้อหาที่นักเรียนเรียนในเนื้อหาวิชา

   เพื่อให้กิจกรรมมีความหลากหลาย ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ อีกทั้งยังเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนฝึกฝนทักษะได้ทุกเวลาจากเทคโนโลยีซึ่งทำให้กิจกรรมน่าสนใจมากยิ่งขึ้น

๒. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล

   พัฒนาบทเรียนสร้างเนื้อหาในรูปแบบออนไลน์พัฒนาทักษะการเรียนวิชาประวัติศษสตร์ผสมผสานกับการจัดการเรียนรู้ด้วยการฝึกทักษะวิชาประวัติศษสตร์เพื่อฝึกฝนให้มีความชำนาญและสามารถสื่อสารได้ในระดับต้น ในรายวิชา ประวัติศาสตร์  ครูผู้สอนติดตามความก้าวหน้าจากการทำแบบฝึกหัดจากบทเรียนเรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์โดยมีวิธีการและขั้นตอนในการสร้างแหล่งเรียนรู้ออนไลน์

และในระหว่างการพัฒนา ครูผู้สอนนำปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักเรียน ครูผู้สอนต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อที่จะหาแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้

   เพื่อให้กิจกรรมมีความหลากหลาย ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ อีกทั้งยังเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนฝึกฝนทักษะได้ทุกเวลาจากเทคโนโลยีซึ่งทำให้กิจกรรมน่าสนใจมากยิ่งขึ้น

โดยใช้กระบวนการPDCA หรือวงจรบริหารงานคุณภาพประกอบไปด้วย4 ขั้นตอนPlan-Do-Check-

Act หรือวางแผน-ปฏิบัติ-ตรวจสอบ-ปรับปรุงเป็นเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดทักษะเรียนวิชาประวัติศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6ดังต่อไปนี้

Plan

  • วิเคราะห์ห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2561) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนฉบับปรับปรุงพุทธศักราช2563 ในเรื่องของมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดของเนื้อหาวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
  • ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นการจัดการเรียนรู้แบบ ActiveLearning เพื่อส่งเสริมทักษะทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Do

  • เปิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เข้า ไปสังเกตการจัดการเรียนรู้ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องในเนื้อหาการจัดกิจกรรมและสังเกตพฤติกรรมและ แบบฝึกหัดพร้อมทั้งเสนอแนะและสะท้อนผลการจัดกิจกรรมเพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการ เรียนวิชาประวัติศษสตร์และมีสมรรถนะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21

Check

  • ครูผู้สอนนำกิจกรรมมาปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของคณะครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • ครูผู้สอนสร้างแบบทดสอบและแบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรม

Act

จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning

๓. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

  ๓.๑ เชิงปริมาณ

    ผู้เรียนชั้นมัยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน…….จำนวน ๕๓ คน ร้อยละ ๘๐ ที่เรียนในรายวิชาประวัติศาสตร์มีผลการพัฒนาและผลสัมฤทธิ์เพิ่มสูงขึ้น

  ๓.๒ เชิงคุณภาพ

                         การปรับประยุกต์/เทคนิค/สื่อการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ที่ผสมผสานกับเทคนิคการสอนแบบ ด้วยกระบวนการ PDCA ในวิชาประวัติศาสตร์ โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปและรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้

ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา

( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน

( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอเพื่อพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตัวอย่างไฟล์ แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ชำนาญการพิเศษ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ระหว่างวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม  พ.ศ. ๒๕๖๔  ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕


แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ชำนาญการพิเศษ)
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู (ชำนาญการพิเศษ)

เอกสารเป็นไฟล์ Word แก้ไขได้

ดาวน์โหลดไฟล์เอกสารจากลิงก์ด้านล่างนี้ นะครับ

ติดตามข่าวบน Facebook เพื่อไม่พลาดข่าว ได้ที่

ขอบคุณแหล่งที่มา : สื่อฟรีออนไลน์ดอทคอม

ท่านสามารถติดตามข่าวสารการศึกษา ข่าวเปิดสอบงานราชการ เปิดสอบครูอัตราจ้าง ข่าวเรียกบรรจุ อบรมออนไลน์ โหลดสื่อการสอน หรืออ่านบทความต่าง ๆ เพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ของเรา www.krutonpai.com ได้ตลอดเวลา และสุดท้ายขอขอบคุณทุกท่านที่เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเรา เราจะนำเสนอข้อมูล เนื้อหาดี ๆ มีสาระให้กับทุกท่านอีกครั้งอย่างแน่นอน ขอบคุณครับ

ติดตามโพสต์ล่าสุด

RELATED ARTICLES

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่

ข่าวยอดนิยม

ความคิดเห็นล่าสุด