สวัสดีเพื่อนๆ สมาชิก ครูต้นไผ่ดอทคอม ทุกท่านครับ วันนี้พบกับ ครูต้นไผ่ดอทคอม เช่นเคยครับ วันนี้แอดมินมีไฟล์มาแนะนำให้เพื่อนๆ สมาชิกได้ดาวน์โหลดไปใช้งาน เป็นไฟล์ หน้าปก แบบประเมิน SDQ ฉบับ ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนประเมิน ซึ่งเพื่อนๆ สมาชิกสามารถดาวน์โหลดนำไปศึกษาและนำไปเป็นแนวทางในการจัดทำ หน้าปก แบบประเมิน SDQ ฉบับ ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนประเมิน ตามบริบทของห้องเรียน ได้ครับ แอดมินขอแนะนำไฟล์ หน้าปก แบบประเมิน SDQ ฉบับ ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนประเมิน ตามรายละเอียดดังนี้ ครับ

แจกปกฟรี แก้ไขได้ ชุด หน้าปก แบบประเมิน SDQ ฉบับ ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนประเมิน ไฟล์ Power Point แก้ไขได้ โดย สื่อการเรียนรู้ BY ครูเจน

แจกปกฟรี แก้ไขได้ ชุด หน้าปก แบบประเมิน SDQ ฉบับ ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนประเมิน ไฟล์ Power Point แก้ไขได้ โดย สื่อการเรียนรู้ BY ครูเจนน


รายละเอียด แบบประเมิน SDQ

แบบประเมิน SDQ คืออะไร?

แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน ชื่อภาษาอังกฤษ คือ The Strengths and Difficulties Questionnaire : SDQ พัฒนาโดย Robert Goodman จิตแพทย์เด็กชาวอังกฤษ

แบบประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน มี 3 ชุด ได้แก่
1.แบบประเมินสำหรับนักเรียนประเมินตัวเอง (self-rated)
2.แบบประเมินสำหรับครูเป็นผู้ประเมินนักเรียน (teacher)
3.แบบประเมินสำหรับผู้ปกครองเป็นผู้ประเมินนักเรียน (parent)

ข้อแนะนำในการใช้แบบประเมิน

 1.ผู้ใช้แบบประเมิน ควรรู้จักเด็ก และมีความใกล้ชิดกับเด็กมาระยะเวลาหนึ่ง
 2.ควรประเมินทั้ง 25 ข้อ ในครั้งเดียวกัน
 3.การประเมินพฤติกรรมเด็ก เป็นการประเมินลักษณะพฤติกรรมในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา
 4.อาจเลือกใช้แบบประเมินพฤติกรรมเด็กฉบับของครู พ่อแม่ หรือแบบประเมินตนเอง หรือใช้ร่วมกัน ซึ่งควรเป็นระยะเวลาที่ใกล้เคียงกัน

ข้อดีของการใช้แบบประเมิน

1. ในการพัฒนา IQ หากทราบจุดแข็งของเด็ก จะทำให้สามารถดึงศักยภาพที่เด็กมี ออกมาใช้ได้เต็มที่มากขึ้น และทำให้ง่ายต่อการวางแผนการช่วยเหลือเด็ก

2. ในการช่วยเหลือเด็กกลุ่มเสี่ยง 4 โรค จะทำให้ทราบเพิ่มเติมเกี่ยวกับปัญหาด้านพฤติกรรม อารมณ์ส่งผลกระทบต่อตัวเด็ก คนรอบข้างอย่างไร และเด็กมีจุดแข็งด้านใด ซึ่งจะทำให้วางแผนช่วยเหลือได้ตรงจุด

ลักษณะของแบบประเมิน (SDQ)

ส่วนที่ 1 เป็นลักษณะพฤติกรรมจำนวน 25 ข้อ ซึ่งมีลักษณะของพฤติกรรมด้านบวกและด้านลบ สามารถจัดเป็นกลุ่มพฤติกรรม 5 กลุ่ม ได้แก่
1.พฤติกรรมเกเร (Conduct problems)
2.พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง (Hyperactivity)
3.ปัญหาทางอารมณ์ (Emotional problems)
4.ปัญหาความสัมพันธ์กับเพื่อน (Peer problems)
5. พฤติกรรมสัมพันธภาพทางสังคม(Pro-social behavior)

ส่วนที่ 2 ในด้านหลังของแบบประเมิน เป็นการประเมินผลกระทบของพฤติกรรมว่ามีความเรื้อรัง ส่งผลกระทบต่อบุคคลรอบข้างตัวเด็กเอง มีผลกระทบต่อสัมพันธภาพทางสังคม ชีวิตประจำวันของเด็กมากน้อยอย่างไร

ตัวอย่างไฟล์ แบบประเมิน SDQ


หน้าปก แบบประเมิน SDQ ฉบับ ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนประเมิน

เอกสารเป็นไฟล์ Power Point แก้ไขได้

ดาวน์โหลดไฟล์เอกสารจากลิงก์ด้านล่างนี้ นะครับ

ติดตามข่าวบน Facebook เพื่อไม่พลาดข่าว ได้ที่

ขอบคุณแหล่งที่มา : สื่อการเรียนรู้ BY ครูเจน

ท่านสามารถติดตามข่าวสารการศึกษา ข่าวเปิดสอบงานราชการ เปิดสอบครูอัตราจ้าง ข่าวเรียกบรรจุ อบรมออนไลน์ โหลดสื่อการสอน หรืออ่านบทความต่าง ๆ เพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ของเรา www.krutonpai.com ได้ตลอดเวลา และสุดท้ายขอขอบคุณทุกท่านที่เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเรา เราจะนำเสนอข้อมูล เนื้อหาดี ๆ มีสาระให้กับทุกท่านอีกครั้งอย่างแน่นอน ขอบคุณครับ

ติดตามโพสต์ล่าสุด

By admin

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

ห้ามพลาด